วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ชีวิตการทำงาน

ชีวิตการทำงาน  คนทำงานในประเทศไทย  ก็ต้องเผชิญกับการตั้งรับการรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  ความต้องการข้อมูลด้านสถานการณ์คุณภาพชีวิตและความสุขคนทำงานในประเทศไทย  จึงเป็นเรื่องสำคัญ  ในการนำมาวิเคราะห์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์คนทำงานในประเทศไทยเมื่อเข้าสู่การเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ข้อสำคัญ  เพื่อเป็นการเตรียม ความพร้อมด้านแรงงานคุณภาพทั้งธุรกิภาคอุตสาหกรรม  จึงเป็นเรื่องสำคัญในการนำมาวิเคราะห์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์คนทำงานในประเทศไทยเมื่อเข้าสู่การเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ข้อสำคัญ  เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านแรงงานคุณภาพทั้งธุรกิจภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ

1.สิ่งที่ไม่ดีในช่วงที่ผ่านมา  คือ  การที่เราทำงานไม่ต็มที่กับงานที่เราทำอยู่ อย่างเช่น ไม่ตั้งใจทำงาน มาทำงานสาย ไม่ต็มที่กับงาน เป็นต้น

2.สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว  คือ  การที่เราอ่าจะพยายามทำไห้ดีที่สุด อาจจะทำต็มที่แล้ว แต่ก็ทำไม่สำเร็จ โดยการที่เราต้องปรับปรุงตัว

3.สิ่งที่ปรับปรุงตัวห้ดีขึ้น  คือ  สิ่งที่จะต้องปรับปรุงก็มีหลากหลาย  เช่น  ตั้งใจทำงาน  ไม่มาสายตรงต่อเวลา เต็มที่กับหน้าที่ที่ได้รับ เป็นต้น

4.ช่วยในการแก้ปัญหา     ความคิดสร้างสรรค์ช่วยให้แก้ปัญหาเดิม ด้วยวิธีการใหม่ทำให้ได้สิ่งที่ดีกว่า เพราะในโลกความเป็นจริงไม่มีรูปแบบใดอยู่ในสภาพตายตัวตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นมิติของสถานที่หรือเวลา แต่มีความแตกต่างซ่อนอยู่เสมอ

5.ช่วยเราได้สิ่งใหม่ที่ดีกว่าสิ่งเดิม    ความคิดสร้างสรรค์จะช่วยให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตได้ จากการพยายามพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น พยายามมองปัญหาที่เกิดขึ้นในบริบทที่เป็นอยู่ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาอาชีพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันแทบทุกอาชีพต้องพึ่งพาคนที่มีความคิดสร้างสรรค์

6.ความสงสัยใคร่รู้   บุคคลที่จะพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในการทำงานได้นั้น ต้องเป็นบุคคลที่มีความสงสัย ความต้องการที่จะรู้เรื่องต่าง ๆ เช่น อยากรู้ว่าปัญหาเกิดจากอะไร วิธีแก้ปัญหาต้องทำอย่างไร ความจริงคืออะไร ทำไมถึงต้องเป็นเช่นนั้น ต่อไปจะเกิดอะไรขึ้น ทำไมถึงไม่ลองวิธีนี้ แค่นี้ ก็สามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้แล้ว


7.ชื่อว่าปัญหาทุกเรื่องสามารถแก้ไขได้     บุคคลที่จะพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในการทำงานได้นั้น ควรเป็นบุคคลที่มีทัศนคติเชิงบวกต่อปัญหา หรือ อุปสรรคที่พบ สามารถรับรู้ได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นย่อมแก้ไขได้ไม่วิธีใดก็วิธีหนึ่ง เพียงแต่ต้องใช้เวลาและแรงกายแรงใจทุ่มเทลงไป และต้องจัดลำดับความสำคัญให้ถูกต้อง

8.  ขาดกำลังใจ   เวลาที่เจอกับงานยาก บางครั้งคุณอาจรู้สึกท้อแท้และหมดกำลังใจ จนคิดว่าคุณไม่มีความสามารถ คุณไม่อาจทำมันให้สำเร็จได้อย่างที่นายจ้างต้องการ หากความรู้สึกนี้เกิดขึ้น คุณควรจะเติมความมั่นใจให้ตัวเองให้เต็ม และหมั่นเติมอยู่เรื่อย ๆ  อย่าปล่อยให้ความรู้สึกขาดกำลังใจมาบั่นทอนคุณ ถ้านายจ้างคุณคิดว่าคุณทำไม่ได้ เขาคงไม่ให้คุณทำงานนี้หรอก ดังนั้น เมื่อเขามั่นใจในตัวคุณ แล้วไยคุณถึงไม่มั่นใจในตัวเองล่ะ

9.ขาดความพร้อมในการทำงาน   บางคนมาทำงาน แต่ยังทำตัวเป็นเด็ก ๆ ทำงานแบบเด็ก ๆ ไม่มีความรับผิดชอบมากพอ เมื่อคุณก้าวเข้าสู่โลกของการทำงาน คุณควรบอกตัวเองว่าตอนนี้คุณคือผู้ใหญ่แล้ว คุณไม่ใช่เด็กอีกต่อไป คุณจะต้องรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ อย่าลืมว่าคุณจะต้องพิสูจน์ให้นายจ้างเห็นว่า คุณมีความสามารถและสามารถผ่านการทดลองงานได้


10.  ไม่ชำนาญในงานที่ทำ   เนื่องจากคุณเพิ่งเรียนจบ และงานที่คุณได้รับมักเป็นสิ่งที่แปลกใหม่ ไม่เคยทำ ไม่เคยเรียนมาก่อน เรื่องความชำนาญจึงเป็นอุปสรรคอย่างหนึ่ง คุณอาจรู้สึกว่างานยากเกินไปสำหรับคุณ แต่เมื่อคุณเรียนรู้มันสักระยะหนึ่ง คุณจะรู้สึกชินกับมัน และสามารถทำงานได้อย่างสบายใจขึ้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น